เห็ดตับเต่ามีเอ็นไซม์ย่อยอาหารมาสร้างเส้นใยไม่ดี ปกติอาศัยอาหารประเภทนี้จากต้นไม้ หรือวัสดุที่ย่อยง่าย แต่สามารถย่อยเกลือแร่ให้อยู่ในรูปที่ต้นไม้สามารถดูดซึมเอาไปใช้ได้ จึงมักอาศัยพึ่งพาอยู่กับรากไม้
นักวิชาการด้านการเกษตรของประเทศจีนได้พัฒนาการเพาะเห็ดตับเต่าในถุงได้สำเร็จด้วยการเลี้ยงเส้นใยในอาหารที่ย่อยง่าย
สูตรอาหารทำวัสดุเพาะเห็ดตับเต่า
- ขี้เลื่อยไม้ยางพาราหรือไม้เนื้ออ่อน 100 กก.
- ข้าวฟ่าง 30 กก.
- แป้งข้าวเหนียว 30 กก.
- ดีเกลือ 100 กรัม
- ปุ๋ยโปแตสเซี่ยมฟอสเฟต 100 กรัม
- PH 4 - 6
- ข้าวฟ่าง 30 กก.
- แป้งข้าวเหนียว 30 กก.
- ดีเกลือ 100 กรัม
- ปุ๋ยโปแตสเซี่ยมฟอสเฟต 100 กรัม
- PH 4 - 6
ล้างทำความสะอาดเมล็ดข้าวฟ่างหลังแช่น้ำค้างคืนไว้นาน 10 - 12 ชม.
ผสมแป้งข้าวเหนียวกับขี้เลื่อย คลุกเคล้าให้เข้ากันดีก่อน แล้วผสมข้าวฟ่างเข้าไป
ละลายดีเกลือในน้ำสมสายชูเล็กน้อยแล้วผสมน้ำ ละลายปุ๋ยโปแตสเซี่ยมฟอสเฟตในน้ำที่ละลายดีเกลือไว้แล้ว
ผสมแป้งข้าวเหนียวกับขี้เลื่อย คลุกเคล้าให้เข้ากันดีก่อน แล้วผสมข้าวฟ่างเข้าไป
ละลายดีเกลือในน้ำสมสายชูเล็กน้อยแล้วผสมน้ำ ละลายปุ๋ยโปแตสเซี่ยมฟอสเฟตในน้ำที่ละลายดีเกลือไว้แล้ว
---Advertising---
ผสมน้ำกับขี้เลื่อย + แป้งข้าวเหนียว + เมล็ดข้าวฟ่าง ให้ได้ความชื้น 60% ปรับค่า PH 4 - 6
บรรจุถุง นำไปนึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 121°C นาน 60 นาที เมื่อเย็นลงหยอดหัวเชื้อ บ่มที่อุณหภูมิ 26 - 30°C นาน 60 วัน
บรรจุถุง นำไปนึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 121°C นาน 60 นาที เมื่อเย็นลงหยอดหัวเชื้อ บ่มที่อุณหภูมิ 26 - 30°C นาน 60 วัน
การเปิดดอกด้วยการทำเคสซิ่ง และการเตรียมวัสดุเคสซิ่งเหมือนเห็ดมิลค์กี้
ปล...สิ่งหนึ่งที่ไม่ค่อยบอกกัน คือ ดีเกลือ ต้องมาละลายในกรดก่อนนะครับ เชื้อเห็ดถึงจะดูดซึมได้ครับ
ปล...สิ่งหนึ่งที่ไม่ค่อยบอกกัน คือ ดีเกลือ ต้องมาละลายในกรดก่อนนะครับ เชื้อเห็ดถึงจะดูดซึมได้ครับ
ฝากติดตาม กลุ่มข่าวสารด้านเกษตร อีกช่องทางหนึ่งคลิก